1. ถ้อง-ถ่อง
ชัด ชัดเจน แจ่มแจ้ง คล่อง ดี
ถ่องแท้ (คำซ้อน)
ปากบ่ถ้อง
2. คยด-เคียด
โกรธ
เคียดแค้น (คำซ้อน)
เห็จ-เฮ็ด
ทำ
3. ขัว-ขวว
สะพาน ทางข้าม
4. เทื่อ
ครั้ง คราว
5. ก้งง-กั้ง
เปิด กาง กั้น
ล่ะพอแต่เปิดผ้าม่านกั้ง
ก้อม
สั้น ค่อม เตี้ย
นิทานก้อม
6. ย่าง-ຍ່າງ
เดิน ไป
อยู้-ยู้
ผลัก ดัน ต้าน ทาน
ซุกยู้ = อุ้มชู อุปถัมย์
ซอม
สังเกต พิจารณา จับตาดู
ซอมเบิ่งอยู่เด้อ
7. อย้าน-ย่าน-ຢ້ານ
กล้ว
เวียง-วยง-ວຽງ
กำแพง = เมือง
กำแพง(นครหลวงเวียงจัน)
กำแพงเพชร
ส่ำ
ชนิด พวก หมู่ เหล่า ขนาด
อ้างอิง
บรรทม รุ่งเลิศ. (2516). ภาษาอีสานในวรรณคดีไทยสมัยอยุธยาตอนต้น. [วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์บัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร]. สืบค้นจาก https://sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/1996.
ประเสริฐ ณ นคร. (2527). “การใช้ภาษาถิ่นในการศึกษาวรรณคดีและศิลาจารึก” ใน สารัตถคดี ประเสริฐ ณ นคร, น. 147-158. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท. สืบค้นจาก https://kukr.lib.ku.ac.th/kukr_es/prasert/search_detail/dowload_digital_file/23723/69254.
วัชรญาณ. ลิลิตยวนพ่าย. สืบค้นจาก https://vajirayana.org/ลิลิตยวนพ่าย/ยวนพ่าย.
เข้าสู่ระบบเพื่อแสดงความคิดเห็น
Log in